ประวัติกองเรือยามฝั่ง |
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ กองทัพเรือ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ แล้วเมื่อ ๒๗ มี.ค.๕๒ และ พ.ร.ฎ.ฯ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ ๓๐ มี.ค.๕๒ จึงส่งผลให้การแบ่งส่วนราชการของ ทร. ตามโครงสร้างใหม่ มีผลตั้งแต่ ๑ เม.ย.๕๒ (ตามมาตรา ๒ ของ พ.ร.ฎ.ฯ) ในการนี้ กห.และ ทร. ได้อนุมัติใช้ อฉก. และ อจย. ของ กร. เล่มใหม่เรียบร้อยแล้ว ประกอบด้วย อฉก.หมายเลข ๒๑๐๐ กร. อฉก. หมายเลข ๒๑๑๐ กลน.กร. อฉก.หมายเลข ๒๑๑๑ กบร.กร. อฉก.หมายเลข ๒๑๑๒ นสร.กร. อจย.หมายเลข ๒๑-๑๒๑ หมวดป้องกัน กองร้อย บก.นสร.กร. และ อจย.หมายเลข ๒๑-๑๒๒ กองรบพิเศษ นสร.กร. แล้ว ให้ปรับย้ายเรือ ตกฝ. และเรือ ตกช จำนวน ๕๒ ลำ จาก กตอ.กร. ไปขึ้นการบังคับบัญชากับ กองเรือยามฝั่ง (กยฝ.กร.) |
ภารกิจกองเรือยามฝั่ง |
“มีหน้าที่จัดและเตรียมกำลังสำหรับการปฏิบัติการยามฝั่ง และการรักษากฎหมายในทะเลตามอำนาจหน้าที่ทหารเรือ”
|
กฎหมายและ พ.ร.บ.ต่าง ๆ มอบอำนาจเจ้าหน้าที่ทหารเรือ จำนวน ๒๘ ฉบับ |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
กองเรือยามฝั่ง ประกอบด้วย
หมวดเรือที่ ๑
-เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งชุด เรือ ต.๑๑(๑๐ลำ)
-เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งชุด เรือ ต.๙๙๑(๓ลำ)
-เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่งชุด เรือ ต.๙๙๔ (๓ ลำ)
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ทร. เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ ทร. ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้